คุณสมบัติของไม้
ไม้คือ วัสดุพื้นฐานที่ถูกน
ามาใช้ในงานก่อสร้างมาเป็นเวลานานแล้ว ในปัจจุบัน
เนื่องจากป่าไม้มีจ านวนลดลงมาก ท าให้ไม้มีราคาแพง
ซึ่งเป็นผลท าให้มีการน าวัสดุอื่นๆ เช่น
เหล็กและคอนกรีต มาใช้แทนไม้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม
การใช้ไม้ก็ยังคงเห็นอยู่ได้ทั่วไป
โดยเฉพาะในการก่อสร้างที่อยู่อาศัย
เนื่องจากไม้มีความสวยงาม
1. คุณสมบัติของไม้
ไม้เป็นวัสดุธรรมชาติที่มนุษย์น
ามาใช้ในการก่อสร้างหลายพันปีมาแล้ว เนื่องจากเป็น
วัสดุที่สามารถหาได้ง่ายสะดวกในการประกอบและรื้อถอน
โดยในการออกแบบโครงสร้างไม้
นั้น เรื่องที่จ
าเป็นต้องทราบเกี่ยวกับคุณสมบัติของไม้นั้นออกเป็น 2 ประเภทคือ
คุณสมบัติ
ทางฟิสิกข์ และคุณสมบัติทางกลศาสตร์
1.1. คุณสมบัติทางฟิสิกส์ไม้เป็นอินทร์วัตถุที่ประกอบด้วยสารส
าคัญ 2 ชนิดคือ
เซลลูโลส(Cellulose) ซึ่งเป็นส่วนผนังของเสี้ยนไม้
ซึ่งมีสัดส่วนประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์
นอกจากนั้นยังมีลิกนิน (Lignin) ซึ่งเป็นตัวยึดเสี้ยนไม้เข้าไว้ด้วยกัน มีสัดส่วนประมาณ 28
เปอร์เซ็นต์ และยังมีน้
าตาลและสารประกอบอย่างอื่นอีกประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์
1.2. คุณสมบัติทางกลศาสตร์ในทางวิศวกรรมนั้นต้องพิจารณาถึงกลสมบัติของไม้ที่
จะน ามาก่อสร้างเพื่อให้โครงสร้างนั้นมีความปลอดภัยมากที่สุด
โดยกลสมบัติของไม้ที่ส าคัญมี
ดังนี้คือ
1.2.1. หน่วยแรงดัด (Bending Stress)
1.2.2. โมดูลัสของการแตกหัก (Modulus of
Rupture)
1.2.3. โมดูลัสของการยืดหยุ่น (Modulus of
Elasticity)
2
1.2.4. หน่วยแรงอัดขนานเสี้ยน (Compressive
Stress Parallel to Grain)
1.2.5. หน่วยแรงอัดตั้งฉากเสี้ยน (Compressive
Stress Perpendicular to
Grain)
1.2.6. หน่วยแรงดึงขนานเสี้ยน (Tensile
Strss Parallel to Grain)
1.2.7. หน่วยแรงเฉือนขนานเสี้ยน (Shearing
Stress Parallel to Grain)
1.2.8. ความแข็ง (Hardness)
2. ไม้เนื้ออ่อนและไม้เนื้อแข็ง
ไม้เนื้อแข็ง คือ ไม้ที่มีน้ าหนักมาก ความถ่วงจ
าเพาะสูง มีกลสมบัติดี และมีความ
ทนทานสูง ซึ่งส่วนใหญ่จะถูกใช้เป็นส่วนส
าคัญของงานโครงสร้าง
ไม้เนื้ออ่อน คือ ไม้ที่มีน้ าหนักเบากว่า ความถ่วงจ
าเพาะน้อยกว่า กลสมบัติต่ ากว่า และ
ไม่มีความทนทาน ยกเว้นได้รับการอาบน้ ายา
ดังนั้นจึงถูกเลือกไปใช้งานในส่วนที่ไม่ส าคัญ
ของโครงสร้าง หรือโครงสร้างที่ใช้งานชั่วคราว
3. ข้อมูลทั่วไปของพรรณไม้
3.1. ชื่อสามัญ : เป็นชื่อที่เรียกชื่อไม้ตามปกติ
เช่น เต็ง รัง แดง ประดู่ เป็นต้น
3.2. ชื่อการค้า :
เป็นชื่อที่ใช้เรียกเป็นการค้าที่ส่งไม้เป็นสินค้าออก ส่วนใหญ่จะ
เรียกชื่อตาม3.3. ชื่อสามัญ
หรือเรียกชื่อตามลักษณะเด่นของไม้ เช่น “Rosewood” คือ ไม้
พะยูง ไม้ชิงชัน “Ironwood” คือไม้แดง
3.4. ชื่อพฤกษศาสตร์ :
เป็นชื่อวิทยาศาสตร์ที่ใช้เป็นชื่อสากล ซึ่งเป็นชื่อที่ได้จากการ
จัดจ าแนกชนิดพันธุ์ไม้
3
3.5. วงศ์ : เป็นกลุ่มของการจ าแนกพันธุ์ไม้
โดยถือหลักตามการจ าแนกทาง
อนุกรมวิธาน (taxonomic classification)
3.6. ถิ่นก าเนิด : เป็นแหล่งกระจายพันธุ์
ตามสภาพป่าที่เกิดขึ้นอยู่
3.7. ลักษณะของเนื้อไม้ :
เป็นลักษณะที่มองเห็นเนื้อไม้ด้วยตาเปล่า ได้แก่ สีของเนื้อ
ไม้ แก่นกระพี้ ลักษณะของ เสี้ยนและความหยาบ –
ละเอียดของเนื้อไม้
3.8. ชั้นคุณสมบัติ :
เป็นการจัดชั้นตามคุณภาพของเนื้อไม้ มี 4 ชั้น ได้แก่ ชั้น A
,B ,C,
และ S ( ชั้น S หมายถึง ไม้เนื้ออ่อน ซึ่งเป็นการจ าแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ )
ตารางที่ 1
เกณฑ์ชั้นความแข็งแรงของเนื้อไม้จากค่ากลสมบัติ และชั้นความทนทานตาม
ธรรมชาติ ตามไม้เนื้อแข็งของประเทศไทย
ชั้นคุณภาพ
ชั้นความ
แข็งแรงของ
ชั้นความทนทานตาม
ธรรมชาติ
เนื้อไม้จากค่ากล
สมบัติ (ปี)
A (ไม้ชั้นคุณภาพดี) A สูงกว่า
6
B (ไม้ชั้นคุณภาพปาน
กลาง) B 2 - 6
C (ไม้คุณภาพต่ า) C ต่ ากว่า
2
S (ไม้เนื้ออ่อนตาม
ลักษณะทาง
พฤกษศาสตร์)
ที่มา: ณรงค์
โทณานนท์ และคณะ (2528)
4
3.9. ลักษณะทางกายวิภาค :
เป็นลักษณะทางโครงสร้างของเซลล์เนื้อไม้ ที่เห็นได้ด้วย
แว่นขยายก าลัง 10-20 เท่า
เพื่อใช้ในการตรวจพิสูจน์ชนิดไม้
3.10. กายสมบัติ :
เป็นค่าความแน่นของเนื้อไม้ที่ความชื้น 12% การหดตัวจากสภาพ
สดจนถึงความชื้นที่กระแสอากาศ ( 12% MC ) ตามปริมาณความชื้นการหดตัว ความ
ถ่วงจ าเพาะและช่องว่างในไม้ไทย เลขที่ ร. 147 พ.ศ. 2517 โดยพงศ์ โสโนและคณะ
3.11. กลสมบัติ :
เป็นการจัดชั้นความแข็งแรงของเนื้อไม้ มี 3 ชั้น ได้แก่ A,
B, และ C
ตารางที่ 2
เกณฑ์ความแข็งแรงประลัยของการตัดสถิต (M.O.R. ของแงดัดสถิตย์)
และค่า
ความ แข็งแรงอัดสูงสุด ของการอัดขนานเสี้ยน
ตามกลสมบัติของไม้ไทย
ชั้นความแข็งแรง
ของ
ความแข็งแรงประลัย
ของการดัด
ความแข็งแรงอัดสูงสุด
ของ
เนื้อไม้
สถิต (M.O.R. ของแรง
ดัดสถิตย์) การอัดขนานเสี้ยน
(N/mm.2) (N/mm.2)
A (ความแข็งแรงสูง) สูงกว่า 95 สูงกว่า 51
B (ความแข็งแรง
ปานกลาง) 60.0-94.9 35-50.9
C (ความแข็งแรงต่ า) ต่ ากว่า 60.0 ต่ ากว่า 35.0
หมายเหตุเป็นค่าความชื้นที่ 12%
ที่มา: พงศ์
โสโน และ คณะ (2516)
5
3.12. ความทนทานตามธรรมชาติ:
เป็นการจัดชั้นความทนทานตามธรรมชาติ โดยได้
จากการทดลองภายใต้สภาวะธรรมชาติของดินฟ้าอากาศในแปลงทดลองกลางแจ้ง
ตามภาค
ต่างๆ ของประเทศ ใช้ไม้ตัวอย่างที่ปราศจากต าหนิ ขนาด
5
x 5 x 50 เซนติเมตร ความชื้น
เฉลี่ยไม่เกิน 20 % และปักลงดิน 25 เซนติเมตร มี 4 ชั้น ได้แก่
1.) ความทนทานต่ า (<2 ปี)
2.) ความทนทานปานกลาง (2 – 6
ปี)
3.) ความทนทานสูง (6-10 ปี)
4.) ความทนทานสูงมาก (> 10
ปี)
3.13. คุณสมบัติการใช้งาน :
เป็นการจัดชั้นคุณสมบัติที่มีผลกับเครื่องมือการใช้งาน
ต่างๆ ซึ่งมีคุณสมบัติ 6 ด้านได้แก่ การเลื่อย การไส การเจาะ การกลึง การยึด เหนี่ยวตะปู
และการขัดเงา
3.14. การใช้ประโยชน์ : เป็นการน าเนื้อไม้ไปใช้งานชนิดต่างๆ
เช่น เป็นโครงสร้าง
อาคารเฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เป็นต้น
โดยพิจารณาจากความเหมาะสมและความ
นิยมนอกจากนี้ยังมีการใช้ประโยชน์นอกเหนือจากเนื้อไม้
(ประโยชน์ทางอ้อม) เช่นสมุนไพร
สีย้อมผ้า ชัน ยาง เป็นต้น
ที่มา http://pirun.ku.ac.th/~b5410101111/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5-03.pdf
2 คุณสมบัติทางกลศาสตร์ที่มา http://pirun.ku.ac.th/~b5410101111/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5-03.pdf
ให้นักเรียนตั้งคำถามเรื่องละ 5 ข้อ
1 ไม้คืออะไร
ตอบ วัสดุพื้นฐานที่ถูกน ามาใช้ในงานก่อสร้างมาเป็นเวลานานแล้ว ในปัจจุบัน
2 คุณสมบัติของไม้คืออะไร
ตอบ ไม้เป็นวัสดุธรรมชาติที่มนุษย์น ามาใช้ในการก่อสร้างหลายพันปีมาแล้ว เนื่องจากเป็น
วัสดุที่สามารถหาได้ง่ายสะดวกในการประกอบและรื้อถอน โดยในการออกแบบโครงสร้างไม้
3 คุณสมบัติของไม้นั้นออกเป็น 2 ประเภทคืออะไร
ตอบ 1คุณสมบัติทางฟิสิกส์
3 คุณสมบัติของไม้นั้นออกเป็น 2 ประเภทคืออะไร
ตอบ 1คุณสมบัติทางฟิสิกส์
4 คุณสมบัติทางฟิสิกส์คืออะไร
ตอบ ไม้เป็นอินทร์วัตถุที่ประกอบด้วยสารส าคัญ 2 ชนิดคือ
เซลลูโลส(Cellulose) ซึ่งเป็นส่วนผนังของเสี้ยนไม้ ซึ่งมีสัดส่วนประมาณ 60 เปอร์เซ็นต์
นอกจากนั้นยังมีลิกนิน (Lignin) ซึ่งเป็นตัวยึดเสี้ยนไม้เข้าไว้ด้วยกัน มีสัดส่วนประมาณ 28
เปอร์เซ็นต์ และยังมีน้ าตาลและสารประกอบอย่างอื่นอีกประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์
5 คุณสมบัติทางกลศาสตร์คืออะไร
ตอบ ในทางวิศวกรรมนั้นต้องพิจารณาถึงกลสมบัติของไม้ที่
5 คุณสมบัติทางกลศาสตร์คืออะไร
ตอบ ในทางวิศวกรรมนั้นต้องพิจารณาถึงกลสมบัติของไม้ที่
จะน ามาก่อสร้างเพื่อให้โครงสร้างนั้นมีความปลอดภัยมากที่สุด
No comments:
Post a Comment