Monday, July 30, 2018

ภาษาโปรแกรม

     ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการณ์มายาวนาน นับตั้งแต่การสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาเครื่อง ที่ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 ในยุคแรกเริ่มของคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเขียนโปรแกรมขนาดใหย่เนื่องด้วยความยากของการเขียนโปรแกรม จนมาถึงปัจจุบันที่ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษ ทำให้การเขียนโปรแกรมขนาดใหญ่ทำได้รวดเร็ว และมีความผิกพลาดน้อยลงแต่เนื่องจากคอมพิวเตอร์ยังคงต้องทำงานตามคำสั่งภาษาเครื่อง เมื่อเราเขียนโปรแกรมแล้ว จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงแล้ว จึงต้องมีการแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อน

ตัวแปลภาษาโปรแกรมมี 2 ประเภทคือ

1. คอมไพเลอร์ (compiler) จะแปลโปรแกรมทั้งโปรแกรมให้ถูกต้อง จึงจะได้ผลลัพธ์เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องที่นำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ภาษาที่แปลด้วยคอมไพเลอร์ เช่น C,C++,Java

2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) จะแปลคำสั่งในโปรแกรมทีละคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง ส่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานทันทีโดยไม่ต้องรอให้แปลเสร็จทั้งโปรแกรม เช่น Python,Logo

กิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง การต้มไข่ยางมะตูมทำได้โดยนำไข่ใส่น้ำและตั้งไฟรอให้น้ำเดือด แล้วต้มต่ออีก 7 นาที จึงจะได้ไข่ยางมะตูมตามต้องการ

กิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง
การต้มไข่ยางมะตูมทำได้โดยนำไข่ใส่น้ำและตั้งไฟรอให้น้ำเดือด แล้วต้มต่ออีก 7 นาที จึงจะได้ไข่ยางมะตูมตามต้องการ

ตัวอย่าง รหัสลำลองและผังงานที่มีการทำแบบวนซ้ำ

สถานการณ์ นักเรียนร่วมวิ่งในงานกีฬาของหมู่บ้าน ซึ่งหากไม่ครบ 5 กิโลเมตรจะไม่หยุดวิ่ง

Monday, July 23, 2018

ตัวอย่าง รหัสลำลองและผังงานที่มีการทำงานแบบมีเงื่อนไข


การกำหนดค่าให้ตัวแปร

การกำหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับตัวแปรสามารถทำได้ 3 วิธีคือ

  • การรับค่าจากภายนอก
  • การกำหนดค่าจากค่าคงที่หรือตัวแปรอื่น
  • การกำหนดค่าจากการคำนวณ
สัญลักษณ์ที่นิยมใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร คือ ← ใช้เพื่อคำนวณค่าทางขวาของ ← ไปกำหนดให้กับตัวแปรทางด้านซ้ายของ ← เช่น

การตั้งชื่อตัวแปรควรตั้งชื่อให้เหมาะสมกับค่าที่เก็บในตัวแปร เช่นตัวแปร name เก็บข้อมูลชื่อ, ตัวแปร age เก็บข้อมูลอายุ

ตัวอย่างการเขียนการรับค่าตัวแปร

x ← 2 นำค่า 2 ไปใส่ในตัวแปร x

ตัวอย่างการเขียนรหัสลำลองและผังงาน


Monday, July 16, 2018

ผังงาน

2.2.2
ผังงานเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวางแผนหรือออกแบบการแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถนำไปปฎิบัติตามหรือเขียนโปรแกรม เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (The American National Standard Institute: ANSI) ได้กำหนดสัญลัักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงาน
ไว้ ซึ่งในที่นี้จะแนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน 

คำถามชวนคิดหน้าที่ 29

ให้จัดเรียงการทำงานต่อไปนี้ เพื่อคำนวณค่าน้ำมันในการเดินทางตามระยะทางที่กำหนด

1.รับระยะทางในการเดินทาง (กิโลเมตร)
2.รับปริมาณน้ำมันต่อระยะทาง (ลิตรต่อกิโลเมตร)
3รับราคาน้ำมัน (บาทต่อลิตร)
4.แสดงค่าน้ำมันที่ต้องใช้

2.2 การเขียนรหัสลำลองและผังงาน

การเขียนรหัสลำลองเป็นกสรใช้คำอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการแก้ปัญหาหรือการทำงานของโปรแกรมซึ่งรูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ และความถนัดของผู้เขียนโดยอาจเขียนเป็นภาษาพูด ให้เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปแบบ

การเขียนรหัสลำลอง เรื่อง การแต่งกายชุดนักเรียน

เริ่มต้าน
    1. ใส่ชุดชั้นใน
    2. ใส่เสื้อนักเรียน
    3. ใส่กระโปรงนักเรียน
    4. ใส่โบว์ที่คอปก
    5. ใส่ถุงเท้านักเรียน
    6. ใส่ร้องเท้านักเรียน
สิ้นสุด

Monday, July 9, 2018

ตัวอย่างขั้นตอนการแก้ปัญหา

ขั้นตอนที่1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา

ข้อมูลเข้า จำนวนสามจำนวนได้แก่ a,bและc
ข้อมูลออก หรือสิ่งที่ต้องการ ตัวเลขที่มีค่ามากที่สุดของเลขสสามจำนวน
วิธีตรวจสอบความถูกต้อง ดำเนินการหาตัวเลขที่มีมากที่สุดด้วยตนเองโดยกำหนดชุดตัวเลข 3 จำนวน เช่น 8,7 และ 12 ในกรณีที่ตัวเลขมีค่ามากสุดคือ 12

ขั้นตอนที่2 การวางแผนการแก้ปัญหา
2.1 เมื่อเปรียบเทียบ a และ b เพื่อหาค่ามากกว่าระหว่างสองจำนวน
2.2 นำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับ c เพื่อหาค่าที่มากกว่า
2.3 ค่าที่มากที่สุดคือ ผลลัพธ์ืั่ได้จากขั้นตอนที่ 2.2

ขั้นตอนที่3 การดำเนินการแก้ปัญหา
   ดำเนินการทดสอบตามขั้นตอนที่วางแผนไว้กับชุดตัวเลขที่กำหนด โดยสมมติ a,bและc เป็น 8,7 และ 12 ตามลำดับ
     3.1 เปรียบเทียบเพื่อหาค่าที่มากกว่าระหว่าง 8และ7 พบว่า8 เป็นค่าที่มากกว่า
     3.2 เปรียบเทียบเพื่อหาค่ามากกว่าค่าที่เหลือระหว่าง 8และ 12 พบว่า 12 เป็นค่าที่มากกว่า
     3.3 ค่าที่มากที่สุดของ 7 8และ12คือ 12

ขั้นตอนที่4 การตรวจสอบและปรับปรุง
    เมื่อพิจารณาคำตอบที่ได้คือ12 กับค่าที่เหลือซึ่งได้แก่ 8และ7 พบว่า 12 มี่ค่ามากกว่าค่าที่เหลือทั้งคู่ คำตอบนี้จึงเป็นคำตอบที่ถูกต้องของข้อกำหนดของสิ่งที่ต้องการ
    แนวคิดข้างต้นใช้งานได้เนื่อวจากว่าพิจารณาจำนวนสามจำนวนใดๆ เมื่อ a > b และb > c แล้ว a > c ด้วย

    จากตัวอย่างแม้ว่าเราจะไม่ได้นำค่า 12 มาเปรียบเทียบกับ 7 โดยตรง แต่เราได้นำมาเปรียบเทียบกับ 8 ซึ่ง 8 ถูกตรวจสอบมาก่อนหน้านี้แล้วว่ามากกว่า 7 เพราะฉะนั้น 12 จึงมากกว่า 7 ด้วย

ขั้นตอนการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังรูป


การแก้ปัญหา

ทบทวนความรู้ก่อนเรียน

✅การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาหรือการทำงานอาจเขียนเป็นข้อความที่แสดงให้เห็นการแก้ปัญหาหรือการทำงานที่เป็นลำดับขั้นตอน

✅การแสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือแก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความหรือการบอกเล่า

✅หากพิจารณาลำดับขั้นตอนสามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้

🖉ลองทำดู
                   เขียนอธิบายขั้นตอนการเดินทางมาโรงเรียนให้เพื่อนเข้าใจและสามารถปฎิบัติตามได้

1.เดินออกจากบ้าน
2.เลี้ยวซ้าย
3.ถึง3แยกเลี้ยวขวา
4.เข้าประตูโรงเรียน

Monday, July 2, 2018

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เรื่อง แนวคิดเชิงนามธรรม ชุดที่ 2

การถ่ายทอดรายละเอียดของปัญหาและการแก้ปัญหา

การถ่ายทอดรายละเอียดนี้ไปสู่ผู้ที่จะวิเคราะห์และแก้ปัญหา ซึ่งเป็นไปได้หลายรูปแบบ หากผู้อื่นแก้ปัญหาคือบุคคลอื่น การถ่ายทอดปัญหาสามารถทำได้โดยการอธิบายเป็นข้อความและอาจใช้แผนภาพประกอบ หากผู้แก้ปัญหาคือคอมพิวเตอร์ การถ่ายทอดวิธีการแก้ปัญหาก็จะอยู่ในรูปของภาษาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 1
1 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่ใช้ระยะทางสั้นที่สุด
ตอบ 900 เมตร

2 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยแวะร้านขายขนม
ตอบ 1300 เมตร

3 เส้นทางเดินจากโรงเรียนกลับบ้านที่สั้นที่สุดโดยแวะร้านขายขนมและเลือกเดินเฉพาะถนนที่มีร่มเงา
ตอบ 2400 เมตร

หน่วยที่ 3 ความคิดเชิงนามธรมม

แนวคิดเชิงนามธรรม (abstract thinking) หรือ (abstraction) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของแนวคิดเชิงคำนวน (computational thinking) ซึ่งใช้กระบวนการคัดแยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อยในปัญหาหรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นและพอเพียงในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ 1 ให้แยกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อปากกา
1.มีด้ามจับ
2.มีไส้หมึก
กิจกรรมที่ 2
มีส้ม 5 กก. มีองุ่น 7 กก. น้ำมันงา 2 กก. ชมพู่ 4 กก.
ข้อมูลที่จำเป็นคือ
1.ชื่อผลไม้
2.น้ำหนักของผลไม้
ข้อมูลที่ไม่จำเป็นคือ
1.น้ำมันงา